สวัสดีค่ะนักเรียน
การสร้างบล็อคงานวิจัยนี้ก็เพื่อช่วยให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานวิจัยได้ง่ายขึ้น คุณครูได้รวบรวมข้อมูลที่มีประโยชน์ต่องานวิจัยและความรู้ต่างๆไว้ในบล็อคนี้นะคะ
อย่าลืมหล่ะเมื่ออ่านบทความแล้ว ลงชื่อให้ทราบด้วยนะคะ


วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

พฤติกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ต่อการรับข่าวสารผ่านสื่อออนไลน์ = Chiang Mai University students behavior towards exposure of online news media

ผลกระทบจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่มีต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศอาเซียน = Impacts of foreign direct investment on economic growth of ASEAN countries


http://ss.lib.cmu.ac.th/digital_collection/etheses/fulltext.php?id=18789

บทบาทของอาเซียนกับการดำเนินงานทางการเมืองและความมั่นคงในยุคหลังสงครามเย็น

กลุ่มประเทศอาเซียน -- การเมืองและการปกครอง;ความมั่นคง -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้;การเมือง;สงครามเย็น
http://ss.lib.cmu.ac.th/digital_collection/etheses/fulltext.php?id=11154

การเปรียบเทียบผลกระทบความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนต่อการส่งออกสินค้าของไทยไปยังประเทศอาเซียน = A Comparison of impacts of exchange rate volatility on Thai Exports to ASEAN Countries

อัตราแลกเปลี่ยน -- แบบจำลองทางเศรษฐมิติ;ความสัมพันธ์ร่วมระยะยาว;คณิตเศรษฐศาสตร์;อุตสาหกรรมการส่งออก -- ไทย;ไทย -- การค้ากับต่างประเทศ -- กลุ่มประเทศอาเซียน

วิเคราะห์แนวคิดและคุณค่าในกวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์)



การศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างวลีประโยคและสัมพันธสารของเด็กปกติและเด็กออทิสติก


การศึกษาคำเดี่ยวในวรรณกรรมไทยสมัยอยุธยาที่ไม่ปรากฏเป็นคำเดี่ยวในพจนานุกรมปัจจุบัน


การศึกษาลักษณะคำเดี่ยวในวรรณกรรมไทยสมัยอยุธยาที่ไม่ปรากฏเป็นคำเดี่ยวในพจนานุกรมไทยปัจจุบัน

ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบียงเบนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อศึกษาสาเหตุปัญหาของปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นเพื่อได้ข้อเสนอแนะในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเบี่ยงเบนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ดนตรีบำบัด

 ดนตรีมีความสัมพันธ์กับมนุษย์มาตั้งแต่เริ่มมีมนุษยชาติแล้ว ไม่ว่าจะเป็นความบันเทิงเริงรมย์ทางสังคมวัฒนธรรมและจิตใจ อีกทั้งยังเป็นเครื่องกล่อมเกลาจิตใจและผ่อนคลายอารมณ์ได้เป็นอย่างดี ในอดีตสมัย กรีกและโรมันเชื่อว่าดนตรีสิ่งมหัศจรรย์ และอำนาจของดนตรีสามารถช่วยบำบัดโรคทางกายและจิตใจได้ นักปราชญ์หลายท่าน ได้กล่าวถึงดนตรีในทำนองเดียวกัน เช่น เพลโต กล่าวว่า สุขภาพกายและสุขภาพจิตสามารถปรับให้ดีขึ้นได้โดยการใช้ดนตรี


http://pineapple-eyes.snru.ac.th/alo/index.php?q=node/129


วันพุธที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2555

เงื่อนไขที่มีผลต่อการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด (Fast Food) ของเยาวชน: กรณีศึกษาเยาวชนระดับประถมศึกษาในจังหวัดภูเก็ต


                งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาเงื่อนไขที่มีผลต่อการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด ของเยาวชนระดับประถมศึกษา 2) เพื่อนำเสนอยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมของเยาวชนระดับประถมศึกษา การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเลือกศึกษาในจังหวัดภูเก็ต เนื่องจากเป็นจังหวัดหนึ่งที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว และมร้านอาหารฟาสต์ฟู้ดจำนวนมาก วิธีการหลักที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสังเกต การสัมภาษณ์ระดับลึก ผู้ให้ข้อมูลหลัก
จำนวน 4 กลุ่ม คือ ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง 20 คน ผู้ปกครองนักเรียน 15 คน เยาวชนระดับประถมศึกษา 12 คน นักสาธารณสุข และนักโภชนาการ 5 คน รวมทั้งสิ้น 52 คน

พฤติกรรมการบริโภคอาหารจานเดียวของผู้บริโภค ในเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร



http://www.sathorn.net/journal/2554volumes1/sunee.pdf


          วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้าอิสระ เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในการบริโภคอาหารจานเดียว  ทั้งด้านลักษณะประชากรศาสตร์ ด้านส่วนประสมทางการตลาด  และปัจจัยอื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้องต่อแรงจูงใจต่อการบริโภคอาหารจานเดียว  เพื่อทราบถึงอิทธิพลในการเลือกอาหารแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงให้บริการ ความเป็นไปได้ในการลงทุนในอนาคต และเป็นข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจประกอบอาชีพธุรกิจร้านอาหารจานเดียวในเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร

ความรู้ เจตคติและพฤิกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3



http://www.mcusurat.org/all_research_51/knowledge.pdf
นักเรียนสามารถอ่านข้อมูลอย่างละเอียดได้ตามลิงค์ข้างบนนะคะ

พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา มหาวิทยาลัยนครปฐม


ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาและปจจัยที่มีผลตอ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ลักษณะสำคัญของภาษาไทยในสมัยสุโขทัย

อ่านบทคัดย่อได้ตามเวปนะคะ
http://arts.tu.ac.th/tuart/images/vijai/2549_prontip.pdf

การศึกษาการใช้ภาษาข้ามวัฒนธรรม:วิเคราะห์ภาษาในหนังสือ A Physician at the Court of Siam

นักเรียนที่ทำวิจัยเรื่องภาษา บทคัดย่อนี้อาจจะมีประโยชน์นะคะ
http://arts.tu.ac.th/tuart/images/vijai/2549_pimpan.pdf

วัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีไทย ภาคเหนือ




สามารถอ่านบทคัดย่อได้ตามเวปข้างล่างค่ะ

http://www.research.chula.ac.th/abstract/libraly/faa01.pdf

การแตกตัวของพลาสติก น้ำมันพืชและน้ำมันหล่อลื่นใช้แล้วด้วยความร้อนเป็นแก๊สโซลันในเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่อง



อ่านรายละเอียดงานวิจัยได้จากเวป
http://www.research.chula.ac.th/abstract/libraly/ene_res01.pdf

สถาปัตยกรรมสมัยพระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวของสังคมไทย





อ่านข้อมูลโดยละเอียดได้ที่เวป
http://www.research.chula.ac.th/abstract/libraly/Abs52_02.pdf

การนำหลักค่าเสียหายเชิงลงโทษมาใช้ในกฎหมายไทย





ประเทศไทยได้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีการนำบทบัญญัติเรื่องค่าเสียหายในเชิง
ลงโทษ (Punitive Damages) มาใช้บังคับในประเทศไทยพอสมควรซึ่งผลการศึกษาวิจัยดังกล่าวได้นำมา
ซึ่งการพัฒนาแนวคิดเรื่องดังกล่าวในกฎหมายเฉพาะหลายฉบับ โดยการกำหนดให้ศาลสามารถกำหนด
ค่าเสียหายในเชิงลงโทษแก่ ผู้กระทำความผิดได

http://www.research.chula.ac.th/abstract/libraly/ab54_02.pdf

กระบวนการการแปรสภาพและย่อยสลายวัสดุเซลลูโลสให้เป็นน้ำตาล เพื่อผลิตเอทานอล




ชานข้าวฟ่างหวานเป็นวัสดุประเภทลิกโนเซลลูโลสที่ถูกน้ามาใช้เป็นวัตถุดิบทางเลือกในการผลิตเอทา
นอล เนื่องจากสามารถหาได้ง่ายและมีราคาถูก โดยมีเซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบซึ่งสามารถถูกสลายให้เป็นน้ำตาลเพื่อน้าไปใช้ในการหมักได้  

http://www.research.chula.ac.th/abstract/libraly/Abs55_02.pdf

ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ การท าหน้าที่ของครอบครัว และพฤติกรรมความก้าวร้าว ของนักเรียนชายระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ความเจริญก้าวหน้าทางวัตถุของสังคมไทยในยุคปัจจุบัน ส่งผลให้หลายสิ่งหลายอย่างที่เคยดีงามก าลัง
เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม  และจริยธรรม เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วนี้ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่และการใช้ชีวิตของบุคคลในสังคม เช่น คนมีความเห็นแก่ตัวมากขึ้น จนเป็นสาเหตุให้บุคคลมีพ ฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น ความก้าวร้าว ความวิตกกังวล  ซึ่งสัณห์ ศัลยศิริ  (2548) กล่าวว่ายังเกิดขึ้นในโรงเรียนสายสามัญในระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาจะพบพฤติกรรมก้าวร้าวในรูปแบบต่างๆ  เช่น การตั้งแก๊งรีดไถเงินเพื่อน หรือรุ่นน้องในโรงเรียน  การพูดจาส่อเสียด ล้อเลีย น ข่มขู่คุกคามเด็กที่อ่อนแอกว่า แต่ถ้าบุคคลสามารถควบคุมอารมณ์โกรธของตนได้ก็จะท าให้เข้าอกเข้าใจผู้อื่น รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา ซึ่งจะช่วยลด ความขัดแย้งและความรุนแรงได้อีก




อ่านต่อที่ http://acp.assumption.ac.th/pdf/research/chananya.pdf

การศึกษาพฤติกรรมความรุนแรงของนักเรียนวัยรุ่น




การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของพฤติกรรมความรุนแรงของนักเรียน
วัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้จากวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling)จ านวน 5
คน ที่ ก าลังศึกษาอยู่ ในระดับชั้นมัธยมศึกษา จากโรงเรียนแห่ งหนึ่ งในเขตกรุงเทพมหานคร ที่ มี
พฤติกรรมความรุนแรง ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการศึกษาแบบรายกรณี (case study) โดยใช้เทคนิคการ
สัมภาษณ์ และแบบสอบถามข้อมูลส่วนตัวแบบสังเกต การเยี่ยมบ้าน ระเบียนสะสม บันทึกประจ าวัน
ผู้วิจัยได้ให้ค าปรึกษาแบบรายบุคคลกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการช่วยเหลือให้มีพฤติกรรม
ที่เหมาะสมต่อไป

http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Gui_Cou_Psy/Saranya_I.pdf

งานวิจัยเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า






โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือโทรศัพท์มือถือได้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่ออุตสาหกรรมการสื่อสาร อุปกรณ์เหล่านี้ทำให้สามารถโทรศัพท์ติดต่อถึงกันโดยโทรจากที่ไหนก็ได้ โทรศัพท์ชนิดนี้มี 2 ประเภท โทรศัพท์โดยทั่วไปจะมีเสาอากาศติดอยู่ที่ตัวโทรศัพท์ อีกประเภทจะมีเสาอากาศแยกออกต่างหากและในกรณีที่ติดตั้งในรถ อาจมีเสาอากาศติดอยู่ที่หน้าต่างหรือหลังคารถ การติดต่อระหว่างโทรศัพท์มือถือกับสถานีที่ใกล้ที่สุดใช้ไมโครเวฟที่ออกมาจากเสา ซึ่งในบทความนี้จะกล่าวถึงแต่โทรศัพท์มือถือแบบธรรมดาเท่านั้น

http://www.nst.or.th/article/article494/article49402.html

วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555

การวิเคราะห์หากำลังต้านทานแผ่นดินไหวสำหรับอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร



งานวิจัยนี้เป็นการศึกษากำลังต้านทานแผ่นดินไหวของอาคารซึ่งพิจารณาถึงผลของ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างด่ ินและโครงสร้าง (Soil-Structure Interaction, SSI)  โดยใช้อาคารคอนกรีต
เสริมเหล็กสูง 14  ชั้น ระบบพื้น-เสา ซึ่งตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีสภาพชั้นดินเป็น
ดินเหนียวอ่อน และเป็นอาคารที่ไม่ไดมีการออกแบบให้ต้านทานแผ่นดินไหว ในการศึกษานี้ได้
วิเคราะห ์ด้วยวิธิีการพลศาสตร์ไม่เชิงเส้น (Nonlinear Dynamic Analysis)  และจำลองฐานราก 
เสาเข็มเป็นแบบยืดหยุ่น โดยมีการแปรเปลี่ยนคาความยืดหยุ่น 3  ระดับและทำการเปรียบเทียบ
http://www.gits.kmutnb.ac.th/ethesis/data/4710988124.pdf

การเตรียมความพร้อมรับมือแผ่นดินไหวในประเทศไทย





การเตรียมพร้อมรับมือแผ่นดินไหวในประเทศไทย ซึ่งเรื่องแผ่นดินไหว กลายเป็นเรื่องที่
สาธารณชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากนับตั้งแต่กรณีเกิดธรณีพิบัติภัย เมื่อปีพ.ศ. 2547 ข่าวการเกิดแผ่นดินไหวตามสถานที่ต่างๆ ทั่วโลกในปัจจุบัน สรางความเสียหายต่อชีวตและทรัพยสินของผู้คนเป็นจำนวนมาก ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะไม่ค่อยประสบภัยแผ่นดินไหวบ่อยนัก แต่ก็ไม่เสียหายหากเราจะเรียนรู้และศึกษาเพี่อเตรียมพร้อมรับมือกับภัยดังกล่าวที่อาจ เกิดขึ้นเมื่อใดก็ได้นอกจากนี้ยังมีบทความที่น่าสนใจอีกหลายเรื่อง เช่น ปัญหาด้านอุตุนิยมวิทยาพลวัต กรมอุตุนิยมวิทยากับการช่วยเหลือและ
ฟื้นฟูพื้นที่ประสบภัยจากพายุนาร์กีส โครงการวิจัยดรรชนีความแห้งแล้ง สำหรับประเทศไทยและเรื่องเล่าอากาศร้อนที่บ้านผม ปี 2553   เป็นต้น
http://www.tmd.go.th/programs%5Cuploads%5Cmagazines%5Cmag3-2353.pdf

แผ่นดินไหวภัยใกล้ตัวคนกรุงเทพ

แผ่นดินไหว ภัยใกล้ตัวคนกรุงเทพฯ รู้ทันแล้วจะเตรียมรับมืออย่างไร..?? โดยปกติแผ่นดินไหวที่เกิดในระยะไกลจะไม่มีความรุนแรง หรือมีความรุนแรงน้อยมาก แต่เนื่องจากดินในกรุงเทพมหานครเป็นดินอ่อน ความรุนแรงจึงเพิ่มขึ้น 3-4 เท่าตัว กอปรกับการสั่นพ้อง (Resonance) ของอาคารสูงที่มีตามธรรมชาติหากตรงกับจังหวะการสั่นไหวของพื้นดิน ความรุนแรงจะทวีเพิ่มขึ้นอีก 3-5 เท่า รวมเป็น 10 เท่าตัว ดังนั้น เมื่อใดก็ตามหากเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7 ริคเตอร์ในระยะไกลซึ่งจะห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 200 กม. (เช่นเกิดที่ จ.กาญจนบุรี) กรุงเทพฯ จะเกิดความเสียหายอย่างรุนแรงได้ทันที


อ่านต่อได้ที่
http://generalguards.com/G2010/index.php?option=com_content&view=article&id=60:2010-04-02-10-49-48&catid=47:2010-04-02-09-25-14

การพัฒนาเทคนิคการจำแนกเสียงพูดโดยการวิเคราะห์แนวทางเดินเสียง


อ่านตามเวปข้างล่างเลยจ้า!
http://www.research.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2012/04/2Abstract.pdf

วิธีการเพื่อความปลอดภัยของผู้มีความผิดปกติทางจิตที่จะก่อเหตุร้ายแก่สังคม




วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายสำาหรับผู้มีความผิดปกติทางจิตในประมวล
กฎหมายอาญาซึ่งประมวลกฎหมายอาญาได้มีบทบัญญัติในการควบคุมบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตด้วยการควบคุมตัวบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตไว้ในสถานพยาบาล อันเป็นมาตรการทางกฎหมายสำาหรับผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตที่ศาลได้พิพากษาว่ากระทำาความผิดแล้ว
รวมทั้งได้ศึกษาพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551ซึ่ งกำาหนดมาตรการทางกฎหมายสำาหรับผู้ที่ มีความผิดปกติทางจิตที่ยังไม่ได้กระทำาความผิดและที่ศาลได้พิพากษาว่ากระทำความผิดแล้ว

อ่านต่อ http://www.research.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2012/05/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95.pdf

ปัญหาเด็กวัยรุ่นและแนวทางแก้ไข



พฤติกรรมที่เป็นปัญหาของวัยรุ่นได้แก่ พฤติกรรมที่แสดงออกในลักษณะที่สังคมไม่ยอมรับ...
http://library.uru.ac.th/bookonline/books%5Cbookonline11-14.pdf

วิกฤตวัยรุ่นกับพฤติกรรม 3 เสี่ยง


http://www.oknation.net/blog/print.php?id=321891

การศึกษาการนําเสนอเนื้อหาสำหรับเด็กของสื่อมวลชนในปัจจุบัน

http://childmedia.net/files/re-01.pdf

การวิจัยเรื่องรุ้เท่าทันละครไทย

http://childmedia.net/files/media-ed.pdf

การศึกษาความกลัวของเด็กไทย

http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Gui_Cou_Psy/Uangkarn_C.pdf

เกร็ดการวิจัยตอนที่ 24: การเขียนบทคัดย่อ


http://www.tourismlogistics.com/index.php?option=com_content&view=article&id=142:journal-abstract-writing&catid=73:2008-12-24-05-03-29&Itemid=89

เกร็ดการทำวิจัย ตอนที่ 3: การเขียนบทสรุป


http://www.tourismlogistics.com/index.php?option=com_content&view=article&id=100:-3-&catid=73:2008-12-24-05-03-29&Itemid=89

เกร็ดการทำวิจัย ตอนที่ 20: องค์ความรู้ใหม่ และการเขียนวัตถุประสงค์


http://www.tourismlogistics.com/index.php?option=com_content&view=article&id=118:--20-&catid=73:2008-12-24-05-03-29&Itemid=89

เกร็ดการทำวิจัย ตอนที่ 2: การเขียน Literature Review

http://www.tourismlogistics.com/index.php?option=com_content&view=article&id=99:how-to-write-the-literature-review&catid=73:research-secrets&Itemid=89

การเข้ามาของอารยธรรมใหญ่ คือ อินเดีย และจีน

http://www.sujitwongthes.com/outlineofthaihistory/wp-content/uploads/2011/08/chapter-2.pdf

วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2555

เอกลักษณ์ของศิลปะแนวประเพณ๊ไทย

http://www.inspect12.moe.go.th/insite/Vijai.htm#023

นโยบายการคลังในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2551


http://www2.nesac.go.th/document/images06/10020001a.pdf

แนวคิดหลังอาณานิคมนิยม

http://www.copag.msu.ac.th/files/pictures/abbstract/Abstract2552/5.pdf

พัฒนาการของมนุษย์

http://www.vcharkarn.com/varticle/38156

การพัฒนาพันธุ์พืชโดยใช้เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

http://it.doa.go.th/refs/files/432_2550.pdf?PHPSESSID=2a856ccbaa47d88066e16fc815e8a19b

วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ประเภทงานวิจัย


ประเภทของการวิจัย

การที่จะแบ่งการวิจัยออกเป็นกี่ประเภทนั้นขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งว่าจะยึดถือสิ่งใดเป็นเกณฑ์หรือเป็นหลัก ทั้งนี้เพราะการใช้เกณฑ์ต่างกัน ก็จะแบ่งการวิจัยออกเป็นประเภทต่าง ได้ไม่เหมือนกัน ด้วยเหตุนี้ประเภทของการวิจัยจึงแบ่งกันได้หลายแบบเพราะขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งดังกล่าวแล้ว ต่อไปนี้จะขอกล่าวถึงประเภทของการวิจัยโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ กัน
1. แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย
การแบ่งประเภทของการวิจัยโดยใช้จุดมุ่งหมายของการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่งนั้น อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภทดังนี้
1. การวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive research) เป็นการวิจัยเพื่อที่จะนำผลที่ได้นั้นไปใช้ทำนายสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคต เช่น การวิจัยเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาการวิจัยนี้ต้องการจะทดสอบว่า ผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์มีความคล้อยตามกันหรือสัมพันธ์กันกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของวิชาวิทยาศาสตร์หรือไม่ ทั้งนี้เพื่อจะนำผลที่ได้ไปทำนายว่านักเรียนที่มีผลการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ดีจะเรียนวิชาคณิตศาสตร์ได้ดีเพียงใด แต่การพยากรณ์นี้เป็นการพยากรณ์นักเรียนทั้งกลุ่ม มิได้พยากรณ์เป็นรายบุคคล และมิได้หมายความว่าจะถูกต้องเสมอไป เพราะอาจมีสาเหตุอื่นมากมายที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ์ได้
2. การวิจัยเชิงวินิจฉัย (Diagnostic research) เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง กลุ่มชน หรือชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในปัญหา เข้าใจในพฤติกรรม ตลอดจนเข้าใจในสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาอันจะเป็นประโยชน์ในการช่วยเหลือ อนุเคราะห์ และทำการแก้ไขต่อไป การวิจัยประเภทนี้นักสังคมสงเคราะห์นิยมใช้กันมาก เพื่อจะได้แก้ไขปัญหาได้ถูกจุด
3. การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (Explanatory research) เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร มีสาเหตุมาจากอะไร และทำไมจึงเป็นเช่นนั้น การวิจัยประเภทนี้จะพยายามชี้ให้เห็นว่าตัวแปรใดสัมพันธ์กับตัวแปรใดบ้าง และสัมพันธ์กันอย่างไรในเชิงของเหตุและผล
2. แบ่งตามประโยชน์ของการวิจัย
การแบ่งประเภทของการวิจัยโดยยึดประโยชน์ที่ได้จากการวิจัยเป็นเกณฑ์นั้น เราจะต้องพิจารณาว่าในการทำการวิจัยมุ่งที่จะนำผลไปใช้ประโยชน์หรือไม่ ดังนั้นจึงสามารถแบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) หรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Pure research) หรือการวิจัยเชิงทฤษฎี (Theoretical research) เป็นการวิจัยที่เสาะแสวงหาความรู้ใหม่เพื่อสร้างเป็นทฤษฎี หรือเพื่อเพิ่มพูนความรู้ต่าง ๆ ให้กว้างขวางสมบูรณ์ยิ่งขึ้นโดยมิได้คำนึงว่าความรู้นั้นจะนำไปแก้ปัญหาใดได้หรือไม่ การวิจัยประเภทนี้มีความลึกซึ้งและสลับซ้อบซ้อนมาก เช่น การวิจัยทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นต้น
2. การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หรือการวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action research) หรือการวิจัยเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ (Operational research) เป็นการวิจัยที่มุ่งเสาะแสวงหาความรู้ และประยุกต์ใช้ความรู้หรือวิทยาการต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ในทางปฏิบัติหรือเป็นการวิจัยที่นำผลที่ได้ไปแก้ปัญหาโดยตรงนั่นเอง การวิจัยประเภทนี้อาจนำผลการวิจัยพื้นฐานมาวิจัยต่อแล้วทดลองใช้ เช่น การวิจัยเกี่ยวกับอาหาร ยารักษาโรค การเกษตร การเรียนการสอน เป็นต้น ดังนั้นเราจึงไม่สามารถที่จะแยกการวิจัยพื้นฐานและการวิจัยประยุกต์ออกจากกันได้โดยเด็ดขาด
3. แบ่งตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาใช้ในการวิจัยนั้นมีหลายวิธี ดังนั้นจึงมีผู้แบ่งประเภทของการวิจัยตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งแบ่งได้ดังนี้
1. การวิจัยจากเอกสาร (Documentary research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รายงาน จดหมายเหตุ ศิลาจารึก แล้วเสนอผลในเชิงวิเคราะห์ ส่วนใหญ่เอกสารที่ผู้วิจัยเก็บรวบรวมนี้จะอยู่ในห้องสมุด ดังนั้นจึงอาจเรียกการวิจัยประเภทนี้อีกอย่างหนึ่งว่า การวิจัยจากห้องสมุด (Library research)
2. การวิจัยจากการสังเกต (Observation research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต การวิจัยประเภทนี้นิยมใช้มากทางด้านมานุษยวิทยา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลในสังคมในแง่ของสถานภาพ (Status) และบทบาท (Role)
3. การวิจัยแบบสำมะโน (Census research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยของประชากร
4. การวิจัยแบบสำรวจจากตัวอย่าง (Sample survey research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
5. การศึกษาเฉพาะกรณี (Case study) การศึกษาเฉพาะกรณีเป็นการวิจัยที่นักสังคมสงเคราะห์นิยมใช้มาก ที่เรียกว่าการศึกษาเฉพาะกรณีก็เพราะเป็นการศึกษาเรื่องที่สนใจในขอบเขตจำกัดหรือแคบ ๆ และใช้จำนวนตัวอย่างไม่มากนัก แต่จะศึกษาอย่างลึกซึ้งในเรื่องนั้น ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงที่จะทำให้ทราบว่าบุคคลนั้นหรือกลุ่มบุคคลนั้นมีความบกพร่องในเรื่องใด เนื่องมาจากสาเหตุใด เพื่อจะได้หาทางแก้ไขหรือช่วยเหลือต่อไป
6. การศึกษาแบบต่อเนื่อง (Panel study) เป็นการศึกษาที่มีการเก็บข้อมูลเป็น ระยะ ๆ เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งการศึกษาแบบต่อเนื่องนี้จะช่วยให้เข้าใจและทราบถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี
7. การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยเก็บข้อมูลมาจากการทดลอง ซึ่งเป็นผลมาจากการกระทำ (Treatment) โดยมีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
4. แบ่งตามลักษณะการวิเคราะห์ข้อมูล
ถ้ายึดลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยแล้ว อาจแบ่งการวิจัยได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เป็นการวิจัยที่นำเอาข้อมูลทางด้านคุณภาพมาวิเคราะห์ ข้อมูลทางด้านคุณภาพเป็นข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลขแต่จะเป็นข้อความบรรยายลักษณะสภาพเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และการเสนอผลการวิจัยก็จะออกมาในรูปของข้อความที่ไม่มีตัวเลขทางสถิติสนับสนุนเช่นเดียวกัน การวิจัยประเภทนี้จึงมุ่งบรรยายหรืออธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยอาศัยความคิดวิเคราะห์ เพื่อประเมินผลหรือสรุปผลนั่นเอง
2. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) เป็นการวิจัยที่นำเอาข้อมูลเชิงปริมาณมาวิเคราะห์ กล่าวคือใช้ตัวเลขประกอบการวิเคราะห์ สรุปผล และการเสนอผลการวิจัยก็ออกมาเป็นตัวเลขเช่นเดียวกัน ดังนั้น การวิจัยประเภทนี้จึงมุ่งที่จะอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยอาศัยตัวเลขยืนยันแสดงปริมาณมากน้อยแทนที่จะใช้ข้อความบรรยายให้เหตุผล
อนึ่งการวิจัยที่ดีนั้นไม่ควรใช้แบบใดแบบหนึ่งโดยเฉพาะ เพราะจะทำให้ผลที่ได้ไม่แจ่มชัดเท่าที่ควร ดังนั้นในการปฏิบัติมักจะประยุกต์การวิจัยทั้ง 2 ประเภทนี้เข้าด้วยกัน เพื่อให้ผลการวิจัยมีทั้งเหตุและผลและมีตัวเลขสนับสนุนอันจะทำให้ผลการวิจัยน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
5. แบ่งตามลักษณะวิชาหรือศาสตร์
เมื่อยึดลักษณะวิชาหรือศาสตร์เป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภทของการวิจัย จะแบ่งการวิจัยออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
1. การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (Scientific research) เป็นการวิจัยที่เกี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น การวิจัยประเภทนี้ได้กระทำกันมานานแล้ว และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์อย่างมากมายเช่น การค้นพบยา รักษาโรค การค้นพบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เป็นต้น นอกจากนี้การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ยังสามารถใช้ แก้ปัญหาที่เกิดจากธรรมชาติได้อีกด้วย เนื่องจากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เที่ยงตรงและมีกฎเกณฑ์แน่นอน ตลอดจนสามารถควบคุมการทดลองได้เพราะทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ จึงทำให้ผลการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ได้รับความเชื่อถือมาก การวิจัยทาง วิทยาศาสตร์อาจจำแนกตามสาขาต่าง ๆ ได้ดังนี้
1.1 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ เช่น ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ฯลฯ
1.2 สาขาวิทยาศาสตร์ เช่น ศิลยศาสตร์ รังสีวิทยา ฯลฯ
1.3 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช เช่น อินทรีย์เคมี เภสัชศาสตร์ ฯลฯ
1.4 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา เช่น สัตวศาสตร์ วนศาสตร์ ฯลฯ
1.5 สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย เช่น วิศวกรรมชลประทาน วิศวกรรมไฟฟ้า ฯลฯ
2. วิจัยทางสังคมศาสตร์ (Social research) เป็นการวิจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น การวิจัยด้านปรัชญา สังคมวิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น การวิจัยทางสังคมศาสตร์นี้แตกต่างกับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์มาก เนื่องจากสังคมศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งวัดไม่ได้โดยตรงและควบคุมได้ยาก แต่มนุษย์ก็ได้พยายามวัดโดยใช้เครื่องมือวัดทางอ้อม เช่น ใช้แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบวัดเจตคติ ฯลฯ และได้นำเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาช่วยในการวิจัย ทำให้ผลการวิจัยเป็นที่น่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น การวิจัยทางสังคมศาสตร์อาจจำแนกตามสาขาต่าง ๆ ได้ดังนี้
2.1 สาขาปรัชญา เช่น วรรณคดี การศึกษา ฯลฯ
2.2 สาขานิติศาสตร์ เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายการปกครอง ฯลฯ
2.3 สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ เช่น การเมือง การปกครอง การบริหารราชการทั่วไป ฯลฯ
2.4 สาขาเศรษฐศาสตร์ เช่น การเงินและการคลัง เศรษฐศาสตร์การพัฒนา ฯลฯ
2.5 สาขาสังคมวิทยาศาสตร์ เช่น ประชากรศาสตร์ พัฒนาชุมชน ฯลฯ
การวิจัยทางสังคมศาสตร์เจริญก้าวหน้าช้ากว่าการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เพราะว่าปรากฏการณ์ทางสังคมศาสตร์นั้นมีข้อจำกัดหลายประการ เช่น
1) การควบคุมปรากฏการณ์ทางสังคมให้คงที่นั้นทำได้ยาก
2) เมื่อวัฒนธรรมีการเปลี่ยนแปลง ทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงไปด้วย
3) การทำนายผลบางอย่างล่วงหน้า อาจไม่เกิดผลนั้นขึ้นมาเพราะมนุษย์อาจป้องกันไว้ล่วงหน้าได้
4) การที่จะศึกษาความคิด ความรู้สึกและเจตคติของมนุษย์นั้นทำได้ยากและวัดได้ยาก
5) ปัญหาทางสังคมศาสตร์จะเหมือนกับปัญหาของสามัญชน ทำให้คนทั่วไปคิดว่าวิชาสังคมศาสตร์เป็นวิชาสามัญสำนึกได้
แม้ว่าการวิจัยทางสังคมศาสตร์จะมีข้อจำกัดอยู่หลายประการก็ตาม แต่การวิจัยทางด้านนี้ก็สามารถศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ได้มากพอสมควร
6. แบ่งตามระเบียบวิธีวิจัย
การแบ่งประเภทการวิจัยโดยยึดระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์นั้นเป็นที่นิยมใช้กันมาก ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ที่ผ่านมาแล้วในอดีต โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะบันทึกอดีตอย่างมีระบบ และมีความเป็นปรนัยจากการรวบรวมประเมินผล ตรวจสอบ และวิเคราะห์เหตุการณ์เพื่อค้นหาข้อเท็จจริงในอันที่จะนำมาสรุปอย่างมีเหตุผล การวิจัยประเภทนี้ต้องอ้างอิงเอกสารและวัตถุโบราณที่มีเหลืออยู่ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักไม่ใช้สถิติ สรุปได้ว่าการวิจัยประเภทนี้มุ่งที่จะบอกว่า เป็นอะไรในอดีต” (What was) เช่น การวิจัยเรื่อง ระบบการศึกษาของไทยในสมัยสมเด็จพระปิยมหาราชเป็นต้น
2. การวิจัยเชิงบรรยายหรือพรรณนา (Descriptive research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงในสภาพการณ์หรือภาวการณ์ของสิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบันว่าเป็นอย่างไร การวิจัยประเภทนี้มักจะทำการสำรวจหรือหาความสัมพันธ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องของความเชื่อ ความคิดเห็น และเจตคติ จึงกล่าวได้ว่าเป็นการวิจัยที่มุ่งจะบอกว่า เป็นอะไรในปัจจุบัน” (What is) นั่นเองเช่น การวิจัยเรื่อง เจตคติของครูน้อยที่มีต่อผู้บริหารการศึกษา
3. การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลของปรากฏการณ์ต่าง ๆ การวิจัยประเภทนี้ต้องมีการควบคุมตัวแปรต้น เพื่อสังเกตตัวแปรตามที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อจะได้ทราบว่าอะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผล ดังนั้นตัวแปรในการวิจัยจึงต้องมีทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง สรุปได้ว่า การวิจัยประเภทนี้มุ่งที่จะบอกว่า อะไรอาจจะเกิดขึ้น” (What may be) เช่น การวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบความมีเหตุผลระหว่างกลุ่มที่สอนเรขาคณิตกับกลุ่มที่สอนตรรกศาสตร์

ชุมชนบ้านคลองเหล็กบน ร่วมอนุรักษ์แหล่งโบราณคดียุคหิน

http://vijai.trf.or.th/re_detail.asp?Topicid=235

ชาวบ้านทองเอนเลิกบุหรี่ ด้วยงานวิจัย

http://vijai.trf.or.th/re_detail.asp?Topicid=241

สะพานสานสัมพันธ์ไทย – มาเลเซีย ผ่านความร่วมมือแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เรื่อง “ข้าวและชาวนา”

http://vijai.trf.or.th/re_detail.asp?Topicid=260

ผลของดนตรีบาบํดที่มีต่อพัฒนาการทางการสื่อความหมายและปฏิสัมพันธ์ทางส้งคมของนักเรียนออทีสติก

http://satitapp.kus.ku.ac.th/musweb/PDF/Autistic.pdf

วันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555





จุลสารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ           
ฉบับที่ 2 ปี 2552
ทำไมต้องทำวิจัย
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา ผลประเสริฐ

จากความหมายของการวิจัยที่ได้กล่าวถึงในฉบับที่แล้ว ในฉบับนี้จะกล่าวถึงประโยชน์ของงานวิจัย เพราะในปัจจุบันหลายหน่วยงานได้ให้ความสำคัญกับการทำวิจัยเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการกำหนดเกณฑ์ในการประเมินผลการดำเนินงาน เช่น จำนวนงานวิจัยที่ทำต่อจำนวนบุคคลากรในหน่วยงาน หรือกำหนดให้เป็นสมรรถนะที่จำเป็นของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เป็นต้น สาเหตุสำคัญของการกำหนดให้บุคลากรต้องมีการทำวิจัยนั้น เนื่องมาจากเห็นความสำคัญหรือประโยชน์ของการวิจัย นั่นเอง ซึ่งสามารถสรุปประโยชน์ของการทำวิจัยได้ ดังนี้
1. เกิดวิทยาการใหม่ ๆ เพิ่มพูนมากยิ่งขึ้นทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ
2. ใช้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและยุติธรรม
3. ช่วยให้เข้าใจและทำนายปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
4. ช่วยในด้านการกำหนดนโยบาย การวางแผนงาน และตัดสินปัญหา
5. ตอบคำถามที่ยังคลุมเครือให้กระจ่างชัดยิ่งขึ้น
6. ช่วยกระตุ้นความสนใจของนักวิชาการ
7. ทำให้ทราบข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งนำมาใช้เป็นประโยชน์เพื่อการปรับปรุงหรือพัฒนา
8. ช่วยให้มีเครื่องมือและเทคโนโลยีใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา
9. ช่วยกระตุ้นบุคคลให้มีเหตุผล รู้จักคิด และค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ
10. ช่วยในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล หน่วยงานและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
11. ทำให้การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไปอย่างถูกต้องและมีเหตุผลดียิ่งขึ้น

 จะเห็นได้ว่าการทำวิจัยมีประโยชน์หลายประการ ทั้งนี้ ถ้าจะกล่าวถึงจุดมุ่งหมายทั่วไปของการวิจัยอย่างกว้าง ๆ แล้วอาจกล่าวได้ว่า ในการทำการวิจัยใด ๆ ก็ตาม ผู้ทำการวิจัยจะมีจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่งใน 2 ประการนี้ คือ
1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ใหม่ เนื่องจากธรรมชาติของมนุษย์มีความอยากรู้อยากเห็น อยากทราบเหตุผลและปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จึงทำการวิจัยเพื่อค้นหาคำตอบ สิ่งใดที่พอรู้อยู่บ้างก็ทำให้รู้และเข้าใจดียิ่งขึ้น เป็นการเพิ่มพูนวิทยาการให้กว้างขวางลึกซึ้ง
2. เพื่อนำผลไปประยุกต์หรือใช้ให้เป็นประโยชน์ จุดมุ่งหมายของการวิจัยนี้เกิดขึ้นเมื่อมีปัญหาที่จะต้องค้นคว้าหาความจริงเพื่อนำผลที่ได้จากการวิจัยไปแก้ปัญหา หรือประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไป
จุดมุ่งหมายของการวิจัยทั้ง 2 ประการนี้ มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เพราะจุดมุ่งหมายประการแรกมุ่งวิจัยเพื่อเพิ่มพูนความรู้ใหม่ทำให้ค้นพบกฎหรือทฤษฎี ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ตามจุดมุ่งหมายของการวิจัยในข้อ 2

การวิจัยเรื่องสเต็มเซลล์

http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=838

ข่าวสารงานวิจัย

http://library2.parliament.go.th/ejournal/content_rd/2554/10_111/t10_111.pdf

ผลกระทบของการเกิดอุทกภัยในประเทศไทย

http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2468/10/246512_ch1.pdf

ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีอายุ 35-60ปี ตำบลกุดน้ำใส

http://pineapple-eyes.snru.ac.th/alo/index.php?q=node/61

ปัจจัยและผลที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ และพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน ใน เขตกรุงเทพมหานคร

http://www.stjohn.ac.th/department/university2007/research_new/pdf/001.pdf

ปัจจัยที่ทำให้เยาวชนไปใช้ยาเสพติด

http://www.aspacngo.org/thai/acrobat/children.pdf

วันพุธที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ชุดควบคุมการทำงานเครื่องปรับอากาศภายในบ้าน เพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟ้า

http://www.bpcd.net/new_subject/library/research/document/sopida/research/ku/04_1.pdf

การรับรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตำบลหนองกลางนา อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

http://ps.npru.ac.th/health/wp-content/uploads/2008/03/binder21.pdf

การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวาน (กรณีศึกษา)

http://hpc9.anamai.moph.go.th/research/index.php?option=com_content&task=view&id=54&Itemid=44

'สถานวิจัยธรณีฟิสิกส์' รับมือภัยพิบัติ

http://www.en.mahidol.ac.th/thai/news/envi_news_fullv2.php?id=912

"แม่ญิงฮ้าย": พฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นหญิงไทยในจังหวัดเชียงใหม่

http://librae.mju.ac.th/office/librae/boxer/22725.pdf

การเขียน Research proposal

http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=7&ved=0CGsQFjAG&url=http%3A%2F%2Fe-learning.vec.go.th%2Felearning%2Felearning%2Fstat%2Ftext%2FreseachProposalWriting.doc&ei=Zx3QT9zwHZHorQeNkZD3Cw&usg=AFQjCNGL1wOcni9MnnLmweCl6Wp5qrUEcQ&sig2=BGVMxe3J3us3PYlZYqZgRA